e-Signature และเอกสารในยุคดิจิทัล

e-Signature และเอกสารในยุคดิจิทัล “e-Signature” หรือ “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” ที่กำหนดไว้ในกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การสร้างชุดข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (ไม่ว่าจะในรูปแบบ ตัวเลข อักษร เสียง หรือสัญลักษณ์อื่นใด) เพื่อให้แสดงความสัมพันธ์กับบุคคลผู้เป็นเจ้าของชุดข้อมูลดังกล่าว (เจ้าของลายมือชื่อ) ดังนั้น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างขึ้นมานั้นต้องสามารถระบุตัวตนหรือเชื่อมโยงไปยังบุคคลผู้เป็นเจ้าของข้อมูลดังกล่าวได้ เช่น การสร้างลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยี Public Key Infrastructure (KPI) ซึ่งใช้หลักการเข้ารหัส/ถอดรหัส (Encryption) โดยผู้สร้างลายมือชื่อจะนำข้อมูลของตนไปแปลงให้อยู่ ในรูปแบบข้อความเข้ารหัส และหากคู่สัญญาอีกฝ่ายจะเข้าถึงข้อความดังกล่าว ก็จำเป็นต้องถอดรหัสด้วยกุญแจคู่รหัส ซึ่งการสร้างขั้นตอนมากมายในทางเทคนิคเหล่านี้ ก็เพื่อเป็นหลักฐานที่แสดงความแท้จริงของเอกสารอันมาจากเจตนาที่ยอมรับในข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น e-Signature คือ การใช้เทคโนโลยีในการสร้างเครื่องยืนยันตัวตนของบุคคลในรูปแบบดิจิทัล ซึ่งให้ผลไม่ต่างจากการยืนยันตัวบุคคลโดยการจับปากกาลงมาเซ็นในกระดาษ ประเภทของ e-Signature สามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่มหลัก ๆ ตามการรองรับของกฎหมาย กลุ่มแรกได้แก่ e-Signature แบบทั่วไป หรือแบบที่กฎหมายระบุว่า “ต้องใช้วิธีการที่น่าเชื่อถือในการสร้าง e-Signature” โดยต้อง สามารถระบุตัวตนของเจ้าของลายมือชื่อได้ และต้องแสดงได้ด้วยว่าเจ้าของลายมือชื่อยอมรับข้อความดังกล่าวนั้น เช่น การตั้งรหัสเข้าใช้บริการทางการเงิน (รหัส ATM), การป้อนข้อมูล One Time Passoword (OTP) หรือการกดปุ่ม Ok/Send…

อนาคตของเรา

อนาคตของเรา บริษัทที่อยู่ในธุรกิจ computer จะเปลี่ยนไปยังไงหลัง Covid-19 แต่ก่อน Covid ทุกอย่างค่อยเป็นค่อยไป เรียกได้ว่า มองเห็นความเป็นไป ในสิ่งที่จะเกิดขึ้นและเดาได้ไม่ยากว่าจะเป็นยังไง แต่ นาทีนี่เหมือนทุกอย่าง จะถูกเร่งเข้าไปอีกหลายเท่าตัว มี Technology หนึ่งที่รู้สึกว่าน่าจะมาในอีกไม่นาน คือ VR เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง ที่คุยกันมาหลายปี จากโลกของ Internet ที่เรามองเห็นกันในหน้าจอ Facebook พอมาเป็น VR เราจะย้ายตัวเราเข้าไปอยู่ใน โลกของ Digital ซึ่งตัวของ Facebook ก็มีข่าวการเตรียมตัวเรื่องนี้มาเป็นระยะ แต่ผมก็ยังรู้สึกว่ายังอีกนานแหละ ซัก 3 ปี แต่พอมาวันนี้ผมรู้สึกว่ามันจะมาเร็วเข้าไปอีก ในโลกของธุรกิจที่ เราสร้างการค้าขายเป็น Web Page แต่พอโลก Digital มาถึง เราต้องสร้างร้านค้าของเราบน โลก VR โหรู้สึกตื่นเต้น อ่ะ

เรารู้อะไรจาก WFH

เรารู้อะไรจาก WFH ขอเก็บประสบการณ์จาก WFH ไว้ก่อน ในขณะที่เราอยู่ในสถานะการณ์บังคับให้บริษัท ทุกที่ต้อง WFH ซึ่งเป็นกันทั้งโลก พร้อมใจกับ WFH ซึ่งเป็นไปไม่ได้เลยในสถานะการณ์ปกติ ถือว่าเป็นช่วงเวลาพิเศษ ที่ผมไม่เคยเจอมาก่อน เรายังทำงานจากที่บ้านได้เกือบทุกแผนก ยกเว้น บัญชี Stock ส่งของระบบ Video Conference มีประสิทธิภาพมาก การ Share หน้าจอ ภาพเสียง ทุกอย่าง OK หมด เราใช้เงินน้อยลงมาก โต๊ะที่บ้าน ไม่เหมาะกับการทำงาน ประสิทธิภาพการทำงาน ไม่ได้น้อยลง ถ้าเรามีแผนการทำงานที่ดี ระบบ Cloud ถูกพิสูจน์ว่าใช้ได้ดีจริง การซื้อขายบน Online มีประสิทธิภาพมาก อ้วนขึ้น อันนี้เป็นประสบการณ์ของผมนะ ถ้าถามว่าชอบหรือป่าว ก็มีทั้งชอบ และ ไม่ชอบ ที่ชอบก็คือการเดินทางน้อยลง ไม่เสียเวลาเดินทางอันนี้ชอบมาก ที่ไม่ชอบก็มี คือ การตามงานบ้างทีก็อยากเดินไปเจอหน้า เรียกมาคุย แต่ตอนนี้รู้สึกว่า เราเรียกไม่ได้ดังใจ…

Work With Office 365

Work With Office 365 มาทำงานกันด้วย Office 365 ตอนนี้บริษัทต้องเปลี่ยนตัวเองอย่างมาก ๆ ในการทำงานที่ ทุกคนต้องอยู่บ้าน ไม่ได้มาเจอหน้ากัน ไม่ได้มาเซ็นต์เอกสาร ไม่ได้มาประชุม การทำงานทุกอย่างเปลี่ยนไป ดังนั้นวันนี้ ผมจะมาแนะนำการปรับให้ SharePoint สามารถรองรับการทำงานแบบ from home กัน เริ่มจากการสร้าง SharePoint Site สำหรับ แต่ละส่วนงาน เช่น บัญชี IT Sales แต่ละแผนก สร้าง ใบ Request Service ของแต่ละแผนก ด้วย Power Apps สร้าง ขั้นตอนการรับเรื่อง และ ขออนุมัติ ตามขั้นตอน ให้ผู้บริหารสามารถเข้าไป Approve เอกสารผ่านระบบ Email สร้าง พื้นที่การจัดเก็บเอกสาร ส่วนกลาง ของบริษัท และ ของแผนก…

ทำงานอยู่บ้านกับ Office 365

ทำงานอยู่บ้านกับ Office 365 ทำงานอยู่บ้านกันหรือป่าว ตอนนี้ผมก็ต้องทำงานอยู่บ้าน บ้าง อยู่ office บ้าง แต่จะไม่ค่อยมีการมาประชุมกันบ่อย ๆ หรือไปหาลูกค้าที่ office ละ สำหรับการทำงานผมไม่ค่อยเจอปัญหานะเพราะทุกอย่างผม อยู่บน Cloud หมด เรื่อง VPN ผมก็ไม่มีปัญหาเพราะระบบส่วนมากเป็น Web App ไม่ต้อง VPN เรื่องเอกสารก็เก็บบน SharePoint สำหรับเอกสารส่วนกลางที่จัดเก็บ ส่วนเอกสารส่วนตัวก็เก็บด้วย One Drive การติดตามงาน Stand up Meeting ก็ทำด้วย MS Team ระบบการขาย ก็ทำด้วย Web E-Commerce การโต้ตอบกับลูกค้าใช้ Line บ้าง Facebook massage บ้าง จะเหลือก็งานส่วนของบัญชี กับ Stock ที่ยังต้องมีคนมาประจำการที่ Office อยู่ ซึ่งต่อไปคงต้องมาคุยกันในบริษัท…

ครั้งแรกสำหรับ Work form home

ครั้งแรกสำหรับ Work form home ขอบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ ว่าวันนี้ 27 มีนาคม 2020 เป็นครั้งแรกที่การทำงาน เป็นการประชุมแบบ Video Conference กันในทีม ถึงแม้ว่าผมจะทำ Conference บ่อยๆ ในช่วงนี้ แต่ก็เป็นการประชุมเสนองานกับ Partner หรือ ไม่ก็ Customer อันนี้ก็เตรียมเนื้อหาข้อมูลมาแล้ว แต่ครั้งนี้ เป็นการนัดหมายการประชุม การทำงานประจำวันกันในทีมเอง โดนผ่านเครื่องมือชิ้นสำคัญ MS Team ต้องบอกว่า ราบรื่น ประทับใจมาก เพราะทุกคนตรงเวลา กระชับ ใช้เวลาแค่ 5 นาที จบ สำหรับ Stand up meeting เป็นการประชุมช่วงเช้า 9:30 น. และจะมีอีก 2 ครั้งในวันนี้ตอน 13:30 เป็นการสรุปปัญหา และ update 16:30 น.…

UI Flow

ตัวอย่างการใช้ UI Flow กับการ Key ข้อมูลลง Excel แบบง่าย ๆ เป็นการสร้างผู้ช่วย ขึ้นมาทำให้การทำงานของเราสะดวกยิ่งขึ้น เรียกได้ว่า กด Start แล้วก็นั่งดูระบบทำงานงานแบบ Auto กันไป สบาย ๆ สำหรับคนที่มี License Office 365 อยู่แล้ว ก็สามารถใช้ UI Flow ได้เลยครับยิ่งถ้าเป็นงานที่ต้องทำซ้ำ ๆๆๆๆ แบบหน้าเบื่อ การใช้ UI Flow จะทำงานได้ดีมาก ลองใช้แล้วจะติดใจ

Azure Information Protection

Azure Information Protection

Azure Information Protection Azure Information Protection (AIP) คือ Service ตัวหนึ่งสำหรับป้องกันข้อมูลภายในองค์กรสำหรับ หน่วยงานที่ใช้งาน Office 365   จะช่วยปกป้องอีเมลจากการเข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต โดยตัวเลือก AIP มีการเพิ่มความปลอดภัยของ Library SharePoint ของคุณ โดยใช้ AIP ในการตั้งค่าสิทธิ์ที่เหมาะสม จะช่วยรักษาข้อมูลของคุณให้ปลอดภัยทั้งแบบออนไลน์ และออฟไลน์ ไฟล์ของคุณจะได้รับการปกป้อง ไม่ว่าคุณจะดูไฟล์โดยใช้ Office Online หรือ ดาวน์โหลดไฟล์ลงในคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ของคุณ มีการผนวกรวมเข้ากับเอกสาร Office ได้อย่างราบรื่น จะช่วยปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาขององค์กรของคุณ มีการนำเทมเพลตแบบกำหนดเองไปใช้ ตามความต้องการทางธุรกิจของคุณ นอกเหนือจากการใช้เทมเพลตการป้องกันเริ่มต้น   สรุป คือ เครื่องมือ Azure Information Protection (AIP) ใช้เพื่อตั้งรหัสการเข้าถึงข้อมูล รวมถึงเครื่องมือ Cloud App Security ใช้เพื่อตรวจสอบ ติดตาม และปกป้องข้อมูลที่อยู่ในระบบ Cloud ให้มีความปลอดภัยขั้นสูงมากยิ่งขึ้นนั่นเอง บริษัท Fusion Solution ให้บริการ…

2020 Gartner Magic Quadrant for Analytics and Business Intelligence Platforms

Business Intelligence Platforms กลับมาอีกครั้งสำหรับ Magic Quadrant 2020 ปีที่แล้ว อันดับหนึ่ง Microsoft ครับผมมมม สำหรับปีนี้ ก็ Microsoft อีกแล้วครับผมมมม 555 ของเค้าดีจริง มาดูรายละเอียดกันว่าเค้าวัดกันยังไง Modern analytics and business intelligence (ABI) เค้านิยาม ประมาณว่า เป็นระบบที่สามารถให้ User ทำได้เองโดยไม่ต้องพึ่ง IT การวิเคราะห์ที่เพิ่มขึ้น การเรียนรู้ด้วยเครื่องจักร (ML) และปัญญาประดิษฐ์ (AI) – สำหรับการจัดเตรียมข้อมูลที่มีความช่วยเหลือการสร้างข้อมูลเชิงลึกและคำอธิบายเชิงลึก ประมาณนี้แหละครับ มาไล่ดูกันครับว่ามีหัวข้ออะไรกันบ้างที่เค้าเอามาให้คะแนนในหัวข้อนี้ ความปลอดภัย: ความสามารถที่เปิดใช้งานการรักษาความปลอดภัยแพลตฟอร์มการจัดการผู้ใช้การตรวจสอบการเข้าถึงแพลตฟอร์มและการรับรองความถูกต้อง ความสามารถในการจัดการ: ความสามารถในการติดตามการใช้งานจัดการวิธีแชร์ข้อมูลและดำเนินการวิเคราะห์ผลกระทบและทำงานกับแอปพลิเคชันของบุคคลที่สาม Cloud : ความสามารถในการสนับสนุนการสร้างการปรับใช้และการจัดการแอปพลิเคชันการวิเคราะห์และการวิเคราะห์ในระบบคลาวด์ขึ้นอยู่กับข้อมูลทั้งในระบบคลาวด์และในสถานที่และในการปรับใช้หลายระบบ การเชื่อมต่อแหล่งข้อมูล: ความสามารถที่ทำให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อและนำเข้าข้อมูลโครงสร้างและไม่มีโครงสร้างที่มีอยู่ในแพลตฟอร์มการจัดเก็บประเภทต่างๆทั้งในสถานที่และในระบบคลาวด์ การเตรียมข้อมูล: การสนับสนุนสำหรับการลากแล้วปล่อยการรวมข้อมูลที่ขับเคลื่อนโดยผู้ใช้จากแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกันและการสร้างแบบจำลองการวิเคราะห์ (เช่นการวัดที่ผู้ใช้กำหนดชุดกลุ่มและลำดับชั้น) ความซับซ้อนของรูปแบบ: รองรับโมเดลข้อมูลที่ซับซ้อนรวมถึงความสามารถในการจัดการตารางข้อเท็จจริงจำนวนมากทำงานร่วมกับแพลตฟอร์มการวิเคราะห์อื่น ๆ และสนับสนุนการปรับใช้กราฟความรู้ แคตตาล็อก: ความสามารถในการสร้างและจัดการแคตตาล็อกที่สามารถค้นหาได้ของสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างและใช้งานโดยแพลตฟอร์มและการอ้างอิง ข้อมูลเชิงลึกอัตโนมัติ: แอตทริบิวต์หลักของการวิเคราะห์ที่เพิ่มขึ้นนี่คือความสามารถในการใช้เทคนิค ML เพื่อสร้างข้อมูลเชิงลึกโดยอัตโนมัติสำหรับผู้ใช้ปลายทาง (ตัวอย่างเช่นโดยการระบุแอตทริบิวต์ที่สำคัญที่สุดในชุดข้อมูล) การวิเคราะห์ขั้นสูง: ความสามารถในการวิเคราะห์ขั้นสูงที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ง่ายโดยมีอยู่ในแพลตฟอร์ม ABI…

Microsoft RPA UI Flow

Microsoft RPA UI Flow ช่วงนี้ RPA มาแรงมากนะครับ เพราะเป็นแนวทางใหม่ของการใช้งาน Software ที่ออกแบบมาช่วย User แบบแท้จริง เป้าหมายของ RPA ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยพนักงาน สำหรับงานบันทึกข้อมูล หรือ งานซ้ำๆ ที่ต้องทำบ่อย ๆ สำหรับ Microsoft เองก็มี RPA นะ แต่ไม่ค่อยมีใครรู้ เพราะตอนนี้ยังอยู่ในขั้น Review และ ก็ไม่ได้ประกาศแบบตรงๆ ด้วยว่าฉันก็มีนะ สำหรับตอนนี้ผม จะมาสรุปให้ฟังว่าแนวทาง RPA ของ Microsoft เป็นยังไง   RPA ของ Microsoft ไม่ได้แยกออกมาเป็น Product แต่เป็น Feature ที่อยู่ใน Product Power Automate RPA ในนิยามของ Microsoft เขียนไว้แค่ นี้ครับ Record…