Azure security

Azure security

Azure security มีอะไรบ้าง และทำอย่างไร มาทำความรู้จัก Azure Security กัน อย่างที่ทราบกันว่า Azure คือ ระบบคลาวด์แพลตฟอร์อม (Cloud Platform) จาก Microsoft ที่เปิดให้เช่าระบบปฏิบัติการ รบบคราวด์เป็นระบบ PASS สามารถทำ security ได้หรือ ถ้าหากต้องการ Set up Security ต้องทำอย่างไร แล้วทำไมเราถึงต้องเลือกใช้ Azure กันล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ 1 ในเหตุผลที่ดีที่สุดว่าทำไมควรเลือกใช้ Azure cloud เนื่องจากมี Application และการบริการที่มีประโยชน์แถมยังมีความสามารถในด้านการรักษาความปลอดภัยที่หลากหลาย โดยผู้ใช้บริการ Azure cloud service สามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทางด้าน Security ได้ตามที่ต้องการ สามารถเชื่อมั่นในความปลอดภัยเนื่องจากได้รับการการันตรีจากทีมงาน Microsoft security อีกด้วย โดยบทความนี้มาแนะนำผลิตภัณฑ์ทางด้านความปลอดภัยที่น่าสนใจ ด้วยกันทั้งหมด 8 อย่างแต่ก่อนจะทำความรู้จัก Azure Security…

วิธีป้องกันแก้เอกสาร PDF

วิธีป้องกันแก้เอกสาร PDF เอกสาร PDF เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมที่สุด สำหรับเอกสารที่ไม่ต้องการให้มีการแก้ไข แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะแก้ไขไม่ได้ หรือ กรณีที่เราอยากรู้ว่ามีการแก้ไขสิ่งที่เราได้บันทึกไว้หรือป่าว แบบนี้ เราจะทำได้ยังไง รูปแบบการป้องกัน การใช้รหัสในการป้องกัน การเปิดเอกสาร ใช้ E-Sign ป้องกันการแก้ไข สำหรับการใช้ E-Sign นอกจากที่จะป้องกันการแก้ไขได้แล้ว ยังสามารถส่งต่อ และ ใช้แทนลายเซ็นต์ ได้อีกด้วย ตัวอย่างการใช้ E-Signature สำหรับผู้ที่สนใจการใช้งาน E-Signature ในการป้องกันเอกสารสามารถขอทดสอบระบบได้ที่

Azure Storage

Azure Storage

อยากใช้ Blob Storage ไว้เก็บข้อมูลใน Cloud ทำอย่างไร ทำไมถึงต้องเลือกใช้ Azure Storage ก่อนจะไปพูดถึงการเก็บรักษาข้อมูลบน Azure Blobs กันอย่างละเอียดเรามาทำความรู้จักกับ พื้นที่เก็บข้อมูลบน Azure Service กันดีกว่ามีด้วยกันทั้งหมด 5 รูปแบบว่าเหมาะสมกับการการนำไปใช้งานอย่างไรบ้าง 1) Azure Blobs – โดยการเก็บรักษาข้อมูลบน Azure Blobs จะอยู่ในรูปแบบของ Container มีลักษณะคล้ายก้อน Disks คนมักนำมาใช้สำหรับเก็บรูปภาพ เพื่อดึงนำไปใช้สำหรับเขียน Web Application 2) Azure Files – มาแทนที่ File sharing สามารถทำเป็น NAAS ได้ 3) Azure Queues – สามารถนำ Queues Application 4) Azure Tables –…

Deploy on Azure

Deploy on Azure

Deploy on Azure การ Deploy บน Azure ทำอย่างไร ยากหรือง่ายมาทำความเข้าใจในบทความนี้ไปด้วยกัน มาเริ่มจาการทำความรู้จักก่อนว่า Azure และการ Deploy app คืออะไร Azure คือ ระบบคลาวด์แพลตฟอร์อม (Cloud Platform) จาก Microsoft ที่เปิดให้เช่าระบบปฏิบัติการ ประสิทธิภาพสูง โดยสามารถสร้าง จัดการ และปรับใช้งานได้อย่างอิสระ รองรับการใช้งานที่หลากหลายรูปแบบ ทำให้สรรค์สร้างระบบขึ้นมาได้ตามที่ต้องการ เมื่อเสร็จขั้นตอนการสร้างจากนั้นจะนำไปสู่ขั้นตอนของการนำไปใช้งานจริง หรือ ที่ทุกคนเข้าใจกันว่า คือ การ Deploy การ Deploy บน Azure ทำได้อย่างไรล่ะ ในบทความนี้ มีเกร็ดความรู้ของการ Deploy บน Azure มานำเสนอ 6 รูปแบบด้วยกัน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. การ Deploy โดยใช้ Publish profile…

Data Visualization คือ

Data Visualization คือ การแปลงข้อมูลที่ดูเข้าใจยาก ให้เป็น Graph ที่เข้าใจง่ายขึ้น ไม่ต้องเสียเวลา จ้องนาน ๆ แล้ว ก็ยังจับประเด็นไม่ได้ ตามรูปประกอบนี้แหละครับ โดยรูปแบบ Graph ที่นิยมใช้แบ่งออกเป็น การเปรียบเทียบ (Comparison) การเปรียบเทียบตัวเลข Y2Y , M2M แบบนี้ การกระจาย (Distribution) การกระจายสินค้า ในแต่ละช่วงอายุของลูกค้า การกระจายสินค้า ในแต่ละช่วงเวลาทั้งปี การแบ่งสัดส่วน (Composition) เทียบส่วนแบ่งประเภทสินค้าในช่วงเวลาเดียวกัน เทียบอายุของลูกค้าที่ซื้อสินค้าประเภทเดียวกัน ความสัมพันธ์ (Relationship) ความเกี่ยวข้องกันของ สินค้า กับ สินค้า เช่น การซื้อสินค้าประเภทเดียวกันใน 1 เอกสาร Graph Comparison เป็นการเปรียบเทียบข้อมูลของ ปี 2561 กับ 2562 เรามักจะใช้กราฟ แบบนี้เพื่อสังเกตความแตกต่างของ 2 สิ่งภายใต้สิ่งแวดล้อมเดียวกัน ซึ่งผลที่ได้ก็คือ…

Implement Machine Learning

Implement Machine Learning Fusion ให้บริการ Implement Machine Learning สำหรับธุรกิจที่ต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ในเชิงลึก หาความสัมพันธ์ของข้อมูล ในแง่มุมที่เราอาจจะไม่เคยเห็นมาก่อน โดยเราสามารถ กำหนดหัวข้อ สำหรับการ Implement ได้ดังนี้ รูปแบบการให้บริการ ตัวอย่างการพัฒนาระบบ Machine Learning ตัวอย่างการใช้ Machine Learning วิเคราะห์ข้อมูลจัดซื้อ จากภาพจะเห็นว่า บริษัทขายดีเหลือเกิน จำกัด ทำเอกสาร ใบ จัดซื้อด้วย E-Form ( Power Apps ) โดยเป็นการซื้อของเข้าไปที่ร้านสาขาของบริษัท ซึ่งบริษัทไม่ได้ใช้คนในการวางแผน เพราะเค้ามี ML เป็นตัวระบุให้ว่า จะต้องซื้ออะไร ไปที่ร้านสาขา ซึ่งการทำแบบนี้ได้ ก็เนื่องจาก บริษัทเอาข้อมูลยอดการสั่งซื้อในอดีต มาให้ ML ทำการวิเคราะห์และคาดการณ์ ซึ่งเราสามารถเอาข้อมูลการขายมาเป็นตัวแปล เพื่อให้ระบบ เรียนรู้ในการปรับปรุง Reference

Windows 365 ใช้ทำอะไร

Windows 365 ใช้ทำอะไร ก่อนที่จะอธิบายเกี่ยวกับ windows 365 ขอย้อนกลับไปที่ Office 365 ( Microsoft 365 ) ก่อน เพราะเราน่าจะคุ้ยเคยกับ ตัวนี้มาแล้วจากรูปแบบการซื้อ Software มาเป็นการเช่าใช้ โปรแกรม ชุด Office แทน การชำระเงินก็เป็นแบบรายปี ตัว Microsoft เองก็ update โปรแกรมให้ต่อเนื่อง แถมที่เก็บข้อมูลบน Cloud ให้อีกด้วย ดังนั้น เดาได้เลยว่า windows 365 ก็คือ การเช่า ใช้ OS นั้นเอง แต่ไม่ใช่แค่เช่า OS เท่านั้นนะ แต่มันคือ OS + HW นั่นเอง เขียนแบบนี้ ต้องมีคนถามแน่ ว่าต่อไปเราไม่ต้องซื้อ Notebook หรือ PC แล้วใช่ปะ…

บริหารความรู้ด้วย SharePoint

บริการความรู้ด้วย SharePoint หลายหน่วยงานตอนนี้ กำลังมองหา ระบบจัดการความรู้ เพราะ การทำงาน WFH ทำให้รูปแบบการเรียนรู้ในปัจจุบันเปลี่ยนไปอย่างมาก โดยเฉพาะการพัฒนาความรู้ในรูปแบบ Online การเรียนที่เปลี่ยนไปแบบนี้ ระบบที่สามารถให้ความรู้แบบ online จึงต้องมีคุณสมบัติบางอย่าง ที่หน่วยงานต้องการ เช่น แบบทดสอบ online สามารถสรุปคะแนนผลการทำสอบของแต่ละคน ระบบแจ้งเตือน เมื่อมีความรู้ใหม่ ระบบลงทะเบียนเรียน ระบบเก็บคะแนนของพนักงาน ต้องการรู้ว่า พนักงานมาศึกษาสิ่งที่เป็นข้อมูลหรือป่าว สามารถเก็บ ความรู้ในรูปแบบ Video KM Portal สำหรับเป็นศูนย์กลาง การศึกษาของพนักงาน ซึ่งทาง Fusion เองมีระบบที่สามารถตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้า ในรูปแบบของ Office 365 ( SharePoint and Power Platform ) ที่จะมาช่วยให้พนักงานสามารถมาเรียนรู้ด้วยตัวเอง และทำแบบทดสอบเพื่อประเมินความรู้ได้แบบชัดเจน ทำไม Office 365 ถึงเป็นทางเลือกที่ดี เนื่องจาก Office 365…

Machine learning คือ

Machine learning คือ Machine learning คือ อะไร พูดแบบง่าย ๆ คือ “การเรียนรู้ของโปรแกรมด้วยตัวเอง” เช่น การแปลงภาพเป็น Text การแปลงเสียงเป็นตัวอักษร หรือ การเรียนรู้เรื่องในอดีตแล้วคาดการณ์อนาคต แบบนี้ ส่วนประกอบที่สำคัญ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. ข้อมูล 2. Data Model ข้อมูล สำหรับ ML คือ ข้อมูล Transaction ของรายการที่เราสนใจ เช่น อุณหภูมิในแต่ละวัน หรือ รายการขายสินค้าของบริษัท ที่มีจำนวนมากพอ สำหรับส่งให้ Data Model ในการวิเคราะห์ต่อไป Data Model คือ ขบวนการในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะเป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ แต่ในปัจจุบัน เราอาจจะไม่ได้เห็นว่าเป็นสูตรคณิตศาสตร์ เพราะมันถูกแปลงมาให้อยู่ในรูปแบบของ Flow แล้ว เช่น…

data mesh คือ

data mesh คือ

data mesh คือ data mesh คือ สถาปัตยกรรมแพลตฟอร์มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลแบบดั้งเดิมที่จัดการการบริโภคการจัดเก็บการแปลง และการส่งออกของข้อมูลใน data lake ส่วนกลาง data mesh เกี่ยวข้องกับการออกแบบที่ขับเคลื่อนด้วยโดเมน ซึ่งรวบรวมข้อมูลในองค์กรอย่างแพร่หลาย รองรับการกระจายข้อมูลเฉพาะโดเมน และมุมมอง “data-as-a-product” สำหรับแต่ละโดเมน จัดการท่อส่งข้อมูลของตนเอง เนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อโดเมนเหล่านี้ และสินทรัพย์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นเลเยอร์ความสามารถในการทำงานร่วมกันสากลที่ใช้ไวยากรณ์ และมาตรฐานข้อมูลเดียวกัน Data mesh ประกอบด้วย Data product/ Service: ผู้ที่มีสถานะเป็นเจ้าของข้อมูลจะมีสิทธิ์ในการดูแลข้อมูลโดยตรง หากมีผู้ต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ จะสามารถเข้าถึงได้ด้วย API (Application Programming Interface – การเรียกใช้โปรแกรมแบบพูดคุยกันได้) ซึ่งในทางปฏิบัติ ข้อมูลอาจถูกเก็บไว้ใน cloud หรือ storage โดยให้หน่วยงานที่ต้องการนำข้อมูลไปใช้ เข้าถึงได้ด้วย URL แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูล หรือ เป็นเจ้าของได้ Discoverable data catalog: ต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยทำให้การค้นหาข้อมูลภายในองค์กรมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น Self-serve platform: แพลตฟอร์มควรจะเอื้อประโยชน์ให้เจ้าของข้อมูลสามารถแชร์ข้อมูล…